IC KM on Research Ethics

KM Committee of International College

As a matter of fact that the University has required all faculty members, researchers, and graduate students to have their research project approved by the Research Ethics Committee before they can conduct their research project and this requirement has been applied starting from Semester 1 of Academic Year 2019 onward, this requirement has been new for all faculty members and graduate levels. In addition, the procedure of ethics approval was still unclear.

Furthermore, it is said that for any research projects which have been approved and/or the contract has been signed before December 21, 2561 (2018), i.e. the date that the regulation on Ethics Approval has been effective, their research projects do not need to be submitted for Research Ethics Approval. However, if the data collection of any of those projects have not been started yet, it is highly recommended for the Heads of the project to submit their projects for Ethics Approval. (This is also applicable for thesis/IS students.)

The Office of Academic Affairs and Research in cooperation with the Office or Research and Academic Service provided held the training on Research Ethics on Tuesday, October 15, 2562 (2019), 1:00 – 4:00 p.m. All Research Ethics Committee Members and Additional Members were required to attend the training. The IC Vice Dean was one of the additional members and she attended that training.

Later on, the International College set up the training for all faculty members and graduate students and sharing knowledge in research ethics was one of the issues covered in the training project.

การเขียนบทความทางวิชาการและการผลิตผลงานวิชาการด้านดนตรี

คณะกรรมการการจัดการความรู้ วิทยาลัยดุริยศิลป์

วิทยาลัยดุริยศิลป์ได้ระบุหัวข้อองค์ความรู้ด้านการทาวิจัย : การเขียนบทความทางวิชาการและการผลิตผลงานวิชาการด้านดนตรี มาจากคณะกรรมการบริหารวิทยาลัยได้ร่วมกันประชุมกับคณาจารย์วิทยาลัยดุริยศิลป์ทั้งหมด เพื่อร่วมกันเลือกองค์ความรู้จากอาจารย์ที่มีความรู้ด้านการทาวิจัย ซึ่งได้แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์นรเศรษฐ์ อุดาการ เนื่องจากอาจารย์ได้รับตาแหน่งทางวิชาการจากการทาผลงานสร้างสรรค์ทางดนตรีและการเขียนบทความทางวิชาการ ทาให้สามารถเล่าและแบ่งปันประสบการณ์การทาผลงานทางวิชาการในแนวทางของดนตรี และแนะนาวิธีการต่างๆที่น่าสนใจ เพื่อให้อาจารย์ท่านอื่น ๆ ที่สนใจในการเขียนบทความทางวิชาการได้ศึกษาเพิ่มเติม นอกเหนือจากการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้ง 4 ครั้งที่ได้จัดขึ้นทุกวันพุธตลอด เดือนกุมภาพันธ์ 2563 คณาจารย์ทุกท่านที่เข้าร่วมกิจกรรมนี้เห็นว่าสามารถนาไปใช้ในการทาผลงานทางวิชาการ เพื่อให้ตรงและบรรลุวัตถุประสงค์ของหัวข้อในการทาผลงานทางวิชาการของตัวเองได้มากที่สุด โดยมีอาจารย์ที่มีประสบการณ์ตรงมาช่วยให้คาแนะนาและปรับวิธีการและขั้นตอนในการทาผลงานทางวิชาการให้สาเร็จตามวัตถุประสงค์
นอกจากนี้อาจารย์หลายท่านยังมีความคิดเห็นว่าหากได้รับคาแนะนาจากผู้ที่เคยเขียนบทความวิชาการทางดนตรีโดยเฉพาะแล้ว จะสามารถช่วยปรับวิธีการเขียน แนวทางการเขียนเนื้อหาในบทความทางวิชาการที่เป็นไปในเชิงวิชาการและมีคุณภาพที่ดี

การต่อยอดวิจัยนวัตกรรมทางการพยาบาล

คณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์มิค

ผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้
1. อาจารย์สุภาวดี ทับกล่ำ
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศิษย์เก่าพยาบาลแมคคอร์มิค
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รุ่งฤดี วงศ์ชุม
กลุ่มวิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น คณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์มิค
3. อาจารย์ ดร. รัตนาภรณ์ ธนสิริจิรานนท์
กลุ่มวิชาการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ คณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์มิค

การขอสนับสนุนทุนวิจัยจากมหาวิทยาลัยพายัพ

คณะกรรมการวิชาการ วิจัย และการจัดการความรู้ คณะนิเทศศาสตร์

สาขานิเทศศาสตร์ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2532 และในปี พ.ศ. 2551 คณะนิเทศศาสตร์ดาเนินการในรูปแบบการเป็นคณะ ปัจจุบันมีคณาจารย์จานวน 15 คน เจ้าหน้าที่ 5 คน แต่กลับมีผลงานวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยพายัพ มีจานวนไม่ถึง 20 เล่ม คณาจารย์บางท่านตั้งแต่เข้ามาเป็นอาจารย์ประจาไม่เคยผลิตผลงานวิจัยเลย คณะกรรมการวิชาการ วิจัยและการจัดการความรู้ คณะนิเทศศาสตร์จึงได้ค้นหา สาเหตุและปัญหาของคณะจารย์ที่ยังไม่เคยผลิตผลงานวิจัย และพบว่าอาจารย์นันทพร ผลอนันต์สนใจที่จะขอสนับสนุนทุนวิจัยจากมหาวิทยาลัยพายัพ แต่ยังขาดประสบการณ์และความรู้ในหลายๆ ด้าน ผศ.กรณิการ์ รักธรรมจึงเสนอตัวที่จะทาวิจัยร่วมกับอาจารย์นันทพร คณะกรรมการวิชาการ วิจัยและการจัดการความรู้จึงได้ร่วมกันประชุมกระบวนการจัดการความรู้เรื่อง “การขอสนับสนุนทุนวิจัยจากมหาวิทยาลัยพายัพ” เพราะมีความเห็นว่าองค์ความรู้นี้มีความสาคัญมาก เพราะการวิจัยเป็นวิธีหาคาตอบด้วยกระบวนการที่เชื่อถือได้ เพิ่มพูนความรู้ใหม่ ทาให้ค้นพบกฎหรือทฤษฎีตลอดจนการประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อชีวิตประจาวันและการทางาน นอกจากนี้ยังเป็นพันธกิจหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยจึงให้ความสาคัญกับการสนับสนุนให้บุคลากรทางานวิจัยมากขึ้น
ด้วยเหตุนี้การจัดการแลกเปลี่ยนความรู้เรื่อง “การขอสนับสนุนทุนวิจัยจากมหาวิทยาลัยพายัพ” จึงเป็นการประมวลความรู้และประสบการณ์ของอาจารย์ที่ประสบการณ์การทาวิจัย อันได้แก่ผศ.ดร.สุธิดา พัฒนศรีวิเชียร และ ผศ.จิรภัทร กิตติวรากูล อีกทั้งอาจารย์ทั้งสองยังเป็นผู้ที่เคยขอรับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากมหาวิทยาลัยพายัพ เป็นผู้แบ่งปันความรู้ รวมถึงกลั่นกรองความรู้ในครั้งนี้

เทคนิคการเขียนบทความวิชาการและการจัดทาบรรณานุกรมโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป

คณะทางานการจัดการความรู้ด้านการวิจัย คณะวิทยาศาสตร์

สืบเนื่องจาก ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับคณะวิชาในปี พ.ศ.2561 แนะนาว่าควรมีการกระตุ้นการผลิตผลงานเพื่อการตีพิมพ์มากขึ้น เนื่องจากผลงานด้านนี้มีน้อย โดยในปี พ.ศ. 2561 คณะวิทยาศาสตร์ มีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ จานวน 7 ผลงาน คิดเป็นค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานวิชาการต่ออาจารย์ประจาทั้งหมด (33 คน) = 10.91 และเมื่อเทียบค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้าหนักที่กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป ดังนั้นคะแนนที่ได้เท่ากับ 1.81 คะแนน ซึ่งค่อนข้างน้อย จึงมีข้อเสนอแนะกระตุ้นให้อาจารย์ผลิตผลงานเพื่อตีพิมพ์ให้มากขึ้น ซึ่งการเขียนบทความวิชาการเป็นสิ่งที่อาจารย์ควรพัฒนาเพิ่มขึ้นเช่นกัน โดยการเขียนบทความวิชาการเพื่อเผยแพร่ในวารสารวิชาการ ผู้เขียนต้องมีความเชี่ยวชาญในเรื่องที่จะเขียน และจาเป็นต้องรู้เทคนิคในการเขียนเพื่อให้บทความ เป็นที่สนใจและดึงดูดใจแก่ผู้อ่าน ดังนั้นคณะกรรมการวิจัยและจัดการความรู้คณะวิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2562 จึงมีการจัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง “เทคนิคการเขียนบทความวิชาการและการจัดทาบรรณานุกรมโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป” นี้ขึ้นมา

การส่งเสริมการบูรณาการงานวิจัยสู่ชุมชน

คณะกรรมการการจัดการความรู้ คณะเภสัชศาสตร์

มหาวิทยาลัยพายัพมีการส่งเสริมให้บุคลากรผลิตผลงานด้านงานวิชาการ เพื่อพัฒนาศักยภาพ คุณภาพด้านวิชาการ โดยสนับสนุนทุนวิจัยและการจัดอบรมต่าง ๆ แต่เนื่องด้วยปัจจัยหลายๆ ด้าน ทาให้อาจารย์ของคณะเภสัชศาสตร์ที่ยื่นขอทุนวิจัยมีจานวนน้อย และการบูรณาการงานวิจัยกับชุมชนยังมีไม่มาก ซึ่งเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ทั้งตัวอาจารย์ผู้ทางานวิจัยจะได้นาความรู้ที่ตนมีนาไปเผยแพร่ให้แก่คนในชุม และคนในชุมชนก็จะได้รับความรู้ทางวิชาการที่ถูกต้องจากบุคลากรจากสถาบันการศึกษา เป็นการเพิ่มพูนความรู้ให้แก่ประชาชน จากจานวนอาจารย์ภายในคณะเภสัชศาสตร์ที่ส่วนใหญ่เป็นอาจารย์ที่ไม่มีประสบการณ์ในการทางานวิจัยที่นาความรู้มาบูรณาการกับชุมชนรวมทั้งการขอทุนสนับสนุนงานวิจัย ซึ่งทางคณะฯ ได้เล็งเห็นความสาคัญและต้องการส่งเสริมให้อาจารย์ภายในคณะฯ ผลิตผลงานทางวิชาการและนาความรู้กระจายสู่ชุมชน จึงได้จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้ในหัวข้อ เรื่องการส่งเสริมการบูรณาการงานวิจัยสู่ชุมชน โดยรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับขั้นตอนการดาเนินงาน การสารวจชุมชน การขอเงินสนับสนุนจากแหล่งทุนสาหรับการบูรณาการงานวิจัยสู่ชุมชนจากผู้ที่มีประสบการณ์ภายในคณะ เพื่อเป็นแนวทางและประโยชน์แก่อาจารย์ในการพัฒนางานวิจัยของตนเองต่อไป

กระบวนการขอจริยธรรมการวิจัยในคน

คณะกรรมการการจัดการความรู้ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

อันเนื่องมาจากประกาศคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.อ.) เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดารงตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ พ.ศ. 2560 ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2561 นั้น ส่งผลให้บุคลาการทางการศึกษาต้องพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการวิจัยให้ก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น ผนวกกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 ซึ่งมีการกาหนดคุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรว่าจะต้องมีผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปี ด้วยเหตุดังกล่าวนี้ จึงเป็นเหตุให้อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาจาเป็นต้องผลิตผลงานจัย เนื่องจากงานวิจัย เป็นหลักเกณฑ์หนึ่งของการนาไปสู่การขอตาแหน่งทางวิชาการ และเป็นผลงานทางวิชาการที่ประจักษ์เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน ซึ่งสามารถสะท้อนถึงคุณภาพของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาได้เป็นอย่างดี
นอกจากนี้การวิจัยในปัจจุบันจาเป็นต้องขอจริยธรรมการวิจัยในคน ซึ่งได้กาหนดให้เห็นได้อย่างเป็นรูปธรรมเมื่อปี 2562 ที่ผ่านมา โดยสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาต่าง ๆ ได้เริ่มจัดตั้งหน่วยงานการขอจริยธรรมการวิจัยในคนขึ้นมาโดยเฉพาะ ดังเช่นประกาศคาสั่งมหาวิทยาลัยพายัพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแต่งตั้งคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคนดังกล่าว ซึ่งสามารถเป็นหลักประกันได้ว่า นักวิจัยทุกคนมีผลการวิจัยที่สร้างองค์ความรู้ใหม่ได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการอย่างเป็นระบบบนพื้นฐานของจริยธรรมการวิจัยในคน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพได้ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าว จึงได้จัด โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบการจัดการความรู้จากการวิจัยแก่คณาจารย์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนาองค์ความรู้เกี่ยวกับ “กระบวนการขอจริยธรรมการวิจัยในคน” ไปประยุกต์ใช้ได้จริง อันจะเป็นการส่งเสริมให้เกิดงานวิจัยที่มีคุณภาพตามหลักจริยธรรมการวิจัยในคนของอาจารย์ในคณะฯ ให้ดีขึ้นต่อไป